Skip to content
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.
  • หน้าแรก
  • กลุ่มงานใน สนก.
    • กลุ่มบริหารทั่วไป
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหาร
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้
    • กลุ่มวิจัยและส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษา
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
    • กลุ่มวิจัยและส่งเสริมคุณธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
    • กลุ่มโครงการพิเศษ
    • ศูนย์ขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
  • เกี่ยวกับ สนก.
    • ผู้บริหาร สนก.
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • การดำเนินงาน
  • การให้บริการ
    • สื่อและกิจกรรมเผยแพร่
    • E-OFFICE
    • เข้าสู่ระบบ
  • ติดต่อ/สอบถาม
    • Facebook สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
สพฐ.
สพฐ.
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.
  • หน้าแรก
  • กลุ่มงานใน สนก.
    • กลุ่มบริหารทั่วไป
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหาร
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้
    • กลุ่มวิจัยและส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษา
    • กลุ่มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
    • กลุ่มวิจัยและส่งเสริมคุณธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
    • กลุ่มโครงการพิเศษ
    • ศูนย์ขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
  • เกี่ยวกับ สนก.
    • ผู้บริหาร สนก.
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • การดำเนินงาน
  • การให้บริการ
    • สื่อและกิจกรรมเผยแพร่
    • E-OFFICE
    • เข้าสู่ระบบ
  • ติดต่อ/สอบถาม
    • Facebook สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
สพฐ.
สพฐ.

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิถีใหม่ (online)

/ 01_Teacher & Learning, 02_วนส., KM Share & Learn แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / By วนส. สนก.
อ่าน 360

เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564 เวลา 10.00 น. – 12.00 น. ดร.ภูธร จันทะหงษ์ ปุณยจรัสธำรง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ให้เกียรติเป็นประธานเปิดการประชุมแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิถีใหม่ พร้อมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ความเป็นมานโยบายการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ Quick Win” และ ดร.อรนุช มั่งมีสุขศิริ ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ ได้บรรยายในหัวข้อ “ก้าวที่กล้าสู่การขับเคลื่อนนโยบายการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิถีใหม่” โดยมีผู้เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนชุมชนแห่งการเรียนรู้ประกอบด้วย ดร.ภูริวรรษ คําอ้ายกาวิน ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา ศึกษานิเทศก์และครู ของ สพป. และ สพม. จำนวน 15 เขต รวมทั้งสิ้น 60 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และเปิดมิติการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิถีใหม่ ซึ่งสรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดประสบการณ์การสอนประวัติศาสตร์ ดังนี้ ร้อยละ 80 ของความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์และครู ที่ได้ดำเนินการนิเทศ และติดตามการสอนของครูประวัติศาสตร์ คือ (1) ครูมีความต้องการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ไม่จำกัด ให้นักเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ใช้วิธีการประวัติศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้อง (2)ครูต้องการฝึกวิเคราะห์ และหาความเชื่อมั่นของข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลที่ได้จาก Internet (3) ความรู้จริง ที่เป็นกลาง กระตุ้นคิดสิ่งที่นักเรียนสนใจ และปฏิบัติได้จริงทั้งครูและนักเรียน และ (4) สอนให้ตระหนัก วิจารณ์ และวิพากษ์ เพื่อให้รู้ว่าเรียนประวัติศาสตร์ไปเพื่ออะไร และต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

Post navigation
← Previous เรื่อง
Next เรื่อง →
ที่อยู่ติดต่อ

สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา อาคาร สพฐ. 5 ชั้น 10 ถ.ราชดำเนินนอก
เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

จำนวนผู้เข้าชม

จำนวนผู้เข้าชม ตั้งแต่ 28 ก.ย. 65

109077
Users Today : 46
Total views : 229064
Your IP Address : 216.73.216.115
Server Time : 2025-05-24

Copyright © 2025 สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.
Powered by สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.

เว็บไซต์ https://inno.obec.go.th มีการใช้งานคุกกี้เพื่อช่วยเพิ่มประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ให้สามารถใช้งานได้ดียิ่งขึ้น คุณสามารถเลือกที่จะยอมรับหรือปฏิเสธการใช้งานคุกกี้ได้ ยอมรับ